วันเสาร์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2558

Record 3 Tuesday 25 August 2015


ความรู้ที่ได้รับ (Knowledge)
  อาจารย์วิเคราะห์เรื่องการทำบล็อกและให้คำแนะนำเทคนิคต่างๆในการทำบล็อก


    อาจารย์พานักศึกษาเข้าห้องสมุดเพื่อค้นคว้าหนังสื่อที่เกี่ยวกับวิทยาศาตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

สรุปความรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องน้ำ

( คู่กับ น.ส.กรกช เดชประเสริฐ )



      น้ำสิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องการน้ำเพื่อให้มีชีวิตอยู่ได้ โลกของเราอยู่ไม่ได้ถ้าขาดน้ำ กิจกรรมนี้จะให้ประสบการณ์ที่เกี่ยวกับความคิดรวบยอดต่อไปนี้

 - น้ำมีน้ำหนัก
- น้ำหนักของน้ำและแรงดันขึ้นของน้ำทำให้สิ่งต่างๆลอยได้
- น้ำเข้าไปอยู่ในอากาศ
- น้ำเปลี่ยนสถานะกลับไปกลับมาได้
- น้ำเป็นตัวทำลายของสารหลายชนิด
- น้ำเกาะตัวกัน
- น้ำเกาะกับวัสดุอื่น
- น้ำแทรกเข้าไปอยู่ในวัสดุอื่น

 ความคิดรวบยอด : น้ำมีน้ำหนัก
1.เราจะรู้สึกได้อย่างไรว่าน้ำมีน้ำหนัก
จุดประสงค์การเรียนรู้ : เพื่อให้นักเรียนประสบด้วยตนเองว่าน้ำมีน้ำหนัก


กิจกรรม
- ให้ถือถังเปล่าแล้วให้คนอื่นเทน้ำใส่ว่าหนักไหมจนถือไม่ไหวประสบด้วยตนเองเช่นนี้ทำให้นักเรียนเข้าใจเรื่องของน้ำหนักของน้ำโดยไม่ยาก
   

กิจกรรมศิลปะ
  การวาดภาพด้วยก้อนน้ำแข็ง  - วิธีเดียวกับระบายสีด้วยนิ้วบนกระดาษผิวมัน แต่ไม่ต้องทำให้กระดาษเปียกทำเวลาระบายสีด้วยนิ้ว

กิจกรรมการเล่น
 ทำลูกโป่งเล่น
         1.ซื้อน้ำยาที่เขาผสมไว้แล้ว พร้อมทั้งก้านพลาสติกและห่วงกลมๆตรงปลายไว้เป่า หมดเติมด้วยน้ำเปล่า 1 ถ้วยผสมน้ำ และ เปลี่ยนขนาดหลอดจุ่มและเป่าให้เป็นลูกโป่งลอยในอากาศ 


แรงดึงดูดของน้ำ
 ใช้กิจกรรมนี้เพื่อให้นักเรียนเข้าใจความคิดรวบยอดของโมเลกุลของแรงดึงดูเชื่อมเข้าหากัน จากเล็กที่สุดเท่่าที่จะเล็กได้

การเชื่อมโยงความคิดรวบยอด
     ความเชื่อมโยงบางอย่างระหว่างอากาศกับน้ำอาจจะเห็นได้เมื่อมีกิจกรรมเลี้ยงปลาและปลูกพืชแต่บางอย่างอาจจะต้องอาศัยการทดลองอย่างง่ายๆ

1. นักเรียนเห็นว่ามีอากาศอยู่ในน้ำได้เมื่อดูน้ำในขวดโหลที่ปิดฝาและวางไว้ในห้องเรียน จะมีฟองอากาศเล็กๆ อธิบายได้ว่าปลาต้องการอากาศเพื่อให้มีชีวิตรอดอยู่ได้ และในน้ำมีอากาศ

2.การที่พืชต้องพึ่งพาน้ำจะเห็นได้ค่อนข้างชัดว่า พืชที่มีใบบางๆจะเฉา เนื่องจากขาดน้ำมาหลายสัปดาห์แต่พอรดน้ำใบจะดีขึ้นในเพียงเวลาไม่กี่ชั่วโมง



ทักษะ  ( Skill )
  อาจารย์อธิบายเทคนิคและวิธีการเกี่ยวกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์ให้นักศึกษาจับคู่ศึกษาค้นคว้าเรื่องเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และจับสลากเลือกหน่วย หน่วยที่ได้คือหน่วยน้ำอ่านพร้อมสรุปที่ห้องสมุด

การนำไปใช้ ( Application)
  นำความรู้ที่ได้ไปบูรณาการให้เข้ากับการเรียนการสอนสำหรับเด็กปฐมวัยเพื่อใช้ในการสอนเด็กได้ถูกต้องและเหมาะสมต่อไปในอนาคต รู้จักการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองและฝึกการคิดอย่างเป็นกระบวนการ

เทคนิค
  สอนอธิบายรายละเอียดและให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองโดยมีอาจารย์คอยให้คำปรึกษา

ประเมินห้องเรียน
  ห้องเรียนสะอาด อุปกรณ์การเรียนพร้อมต่อการใช้สอย (ไปเรียนต่อที่ห้องสมุด)

ประเมินตนเอง
  มาเรียนตรงเวลามีการเตรียมความพร้อมก่อนมาเรียน ตั้งใจฟังขณะที่อาจารย์กำลังสอน

ประเมินเพื่อน
  เพื่อนมาเรียนตรงเวลาตั้งใจฟังขณะที่อาจารย์กำลังสอนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมอย่างดี

ประเมินอาจารย์
  อาจารย์มาสอนตรงเวลาแต่งกายมาสอนเรียบร้อย อธิบายและให้คำปรึกษาในเรื่องบล็อกอย่างละเอียด


Record 2 Tuesday 18 August 2015

หมายเหตุ. ไม่ได้มาเรียน คัดลอกมาจาก นส.ปัณฑิตา คล้ายสิงห์

Knowledge





พัฒนาการทางสติปัญา Cognitive Development

- การดูดซึม (Assimilation)
- การปรับโครงสร้าง (Accommodation)



สติปัญญาจึงเกิดการปรับแนวคิดและพฤติกรรมเพื่อความอยู่รอด

**ทฤษฏีพัฒนาการด้านการรู้คิดของเพียเจท์


ทักษะ (skills)

การระดมความคิดการตอบคำถามและการคิดวิเคราะห์


 ประเมินสภาพห้องเรียน (The atmosphere in the classroom)
      
       ภายในห้องเรียนมีบรรยากาศเย็นสบาย ห้องเรียนสะอาด แต่อุปกรณ์ในการสือค้นข้อมูลอินเตอร์เน็ตใช้งานไม่ได้ทำให้ไม่สะดวกในการใช้งานหรือเรียน


ประเมินตนเอง (Self-Assessment)
    
       เข้าเรียนตรงต่อเวลา แต่งกายสะอาดเรียบร้อย  มีความพร้อมในการเรียน มีส่วนร่วมในการเรียน 


ประเมินเพื่อน (Rating friends)
    
เพื่อนๆในชั้นเรียนมาเรียนตรงเวลากันเป็นส่วนมาก แต่งกายสุภาพเรียบร้อย พูดจาสุภาพ มีส่วนร่วมในการเรียน
เช่น ระดมความคิดในการตอบคำถามร่วมกัน แสดงความคิดเห็น



ประเมินอาจารย์ (Instructor Rating)

       อาจารย์ผู้สอนเข้าสอนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพ มีเทคนิคการสอนที่ทำให้นักศึกษาเข้าใจง่ายและเกิดการคิด ทำให้บรรยากาศในการเรียนไม่น่าเบื่อ






















Record 1 Tuesday 11 August 2015

ความรู้ที่ได้รับ (Knowledge)


ทักษะทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ สติปัญญา การคิด วิเคราะห์ ความจำ 
การทดลอง และการนำไปประยุกต์ใช้
 อาจารย์อธิบายรายละเอียด แผนการจัดประสบการณ์ และการประเมินผล
เทคนิค
- การลงมือทำ
- การใช้คำถาม
- การใช้กราฟฟิค
- การใช้เทคโนโลยี
- การเป็นแบบอย่าง




ทักษะ (Skill)
การให้ตอบคำถามแสดงความคิดเห็น การใช้คำถามต่างๆ

วิธีสอน
สอนโดยบรรยายประกอบ Power point มีการแทรกคำถามประกอบการบรรยาย

ประเมินสภาพห้องเรียน
ห้องเรียนสะอาดบรรยากาศเหมาะสมกับการเรียนอุปกรณ์ใช้ใด้สะดวก

ประเมินตนเอง
มาเรียนตรงเวลาแต่งกายถูกระเบียบ ตั้งใจฟังในขณะที่อาจารย์สอน

ประเมินเพื่อน
ตั้งใจเรียนและฟังขณะที่อาจารย์กำลังสอน ไม่พูดคุยกันเสียงดัง

ประเมินอาจารย์
อาจารย์มาสอนตรงเวลาแต่งการถูกระเบียบมีการเตรียมตัวและเนื้อหามาเป็นอย่างดี


คำศัพท์เพิ่มเติม  (Vocabulary)

การจัดประสบการณ์  = Experience
บรรยาย = Narrate
เนื้อหา = Substance
วิเคราะห์= Analyse